Rice (gohan, 御飯) has been Japan's most important crop. Its fundamental importance to the country and its culture is reflected by the facts that rice was once used as a currency, and that the Japanese word for cooked rice gohan (御飯) or meshi (飯, generally only referred to as such by males) also has the general meaning of "meal". The literal meaning of breakfast (asagohan), for example, is "morning rice".
Japanese rice is short grain and becomes sticky when cooked. Most rice is sold as hakumai ("white rice"), with the outer portion of the grains (nuka) polished away.
A second major rice variety used in Japan is mochi rice. Cooked mochi rice is more sticky than conventional Japanese rice, and it is commonly used for sekihan (cooked mochi rice with red beans), or for pounding into rice cakes.
10 อันดับของฝากยอดนิยมในญี่ปุ่น (10 most popular from Japan)Japanese rice is short grain and becomes sticky when cooked. Most rice is sold as hakumai ("white rice"), with the outer portion of the grains (nuka) polished away.
A second major rice variety used in Japan is mochi rice. Cooked mochi rice is more sticky than conventional Japanese rice, and it is commonly used for sekihan (cooked mochi rice with red beans), or for pounding into rice cakes.
อันดับ 10 Tako Yaki (たこ焼き) จากจังหวัด Osaka ถ้าพูดถึง Tako Yaki แล้วก็ต้องที่ Osaka เท่านั้น

อันดับ 9 Haginotsuki (萩の月) แห่งจังหวัด Miyagi(宮城)เป็นเค้กฟองน้ำคุณภาพเยี่ยม (カステラ:Kasutera) ที่สอดไส้ครีมคัสตาร์ดรสหวานกำลังพอเหมาะ เป็นของฝากที่พลาดไม่ได้ของเซนได เลยทีเดียว

อันดับ 8 Marusei Butter Sando (マルセイバターサンド) ของจังหวัด Hokkaido (北海道) เป็นบิสกิต สอดไส้ครีม White Chocolate และลูกเกด

อันดับ 7 Momiji Manju (もみじまんじゅう) ของฝากจากจังหวัด Hiroshima (広島) เป็นขนม Manju ไส้ถั่วแดงที่คนญี่ปุ่นนิยมทานกับน้ำชา นอกจากความหวานอร่อยของขนมแล้ว ความน่ารับประทานของขนมที่เป็นที่ออกแบบเป็นรูปใบเมเปิ้ล ก็ทำให้ Momijimanju เป็นของฝากขึ้นชื่อของ Hiroshima ไปเลย

อันดับ 6 Shiroikoibito (白い恋人) ของฝากจาก Hokkaido (北海道) ที่คนไทยรู้จักกันดี เป็นคุ้กกี้สอดไส้ White Chocolate ซี่งเนื้อคุ้กกี้จะถูกอบด้วยความเกรียมที่กำลังพอดี บวกกับ White Chocolate ที่ทำจากน้ำนมอันเลื่องชื่อของ Hokkaido ทำให้ Shiroi Koibito เป็นที่ติดอกติดใจทั้งของคนญี่ปุ่นและนักท่องเที่ยวจากทั่วโลก ซึ่งสามารถหาซื้อได้ตามสนามบินแทบจะทุกแห่งในประเทศญี่ปุ่น

อันดับ 5 Uirou (ういろう) ของฝากจากจังหวัด Aichi (愛知) เป็นขนมขึ้นชื่อของเมือง Nagoya (名古屋) ที่เป็นที่รู้จักกันดีของคนญี่ปุ่น เนื่องจากเป็นขนมที่มีมาตั้งแต่สมัยแรกในยุคเอโดะ (江戸時代) ทำมาจากแป้งข้าวเจ้าที่นำไปนึ่ง รสหวานอ่อน ๆ นุ่ม ๆ มีทั้งรสน้ำตาลขาว น้ำตาลดำ ถั่วแดง และชาเขียว เป็นขนมที่คนญี่ปุ่นนิยมทานกับน้ำชาเป็นลำดับต้นๆ เลยทีเดียว

อันดับ 4 Jagapokkuru (じゃがポックル) ของฝากจากจังหวัด Hokkaido รูปลักษณ์ภายนอกก็เป็นแค่มันฝรั่งแท่งทอดกรอบทั่วไป แต่รสชาตินั้นสุดยอด ผลิตโดยคาลบี้ ที่พวกเรารู้จักกันดี ภายใต้แบรนด์ Potato Farm ออกวางขายตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2006 ในช่วงแรกๆ ก็ไม่ได้มีการโฆษณาแต่อย่างใด ด้วยความอร่อย และเสียงปากต่อปากจากผู้ชิมทั้งหลาย ทำให้ขายดีถึงขนาดที่จะต้องจำกัดจำนวนซื้อต่อคนต่อครั้งกันเลยทีเดียว ในช่วง 2-3 ปีมานี้ ได้มีการเพิ่มกำลังการผลิตมากขึ้น ทำให้สามารถหาซื้อได้ง่ายขึ้น ตามสนามบินและร้านตัวแทนจำหน่ายบางแห่ง

อันดับ 3 Akafuku (赤福) ของฝากจากเมือง Ise (伊勢) จังหวัด Mie (三重) เป็นขนมดั้งเดิมของญี่ปุ่นที่มีมาตั้งแต่สมัย Houei (宝永) ประมาณปี 1707 คือขนมโมจิไส้ถั่วแดง ที่มีรสชาติแสนอร่อย และถือว่าเป็นขนมมงคลที่แสดงถึงความจริงใจของผู้ให้ที่จะมอบความสุขให้แก่ผู้รับ ขนมนี้จึงนิยมเป็นของฝากของคนญี่ปุ่นเป็นอย่างมาก




อันดับ 1 Karashi Mentaiko (辛子明太子) ของฝากจากจังหวัด Fukuoka (福岡) Mentaiko ก็คือไข่ปลาคอต Karashi คือรสเผ็ด Karashi Mentaiko เป็นการนำไข่ปลาคอตไปหมักกับเกลือแล้วปรุงรสเผ็ดด้วยพริกนั่นเอง เล่ากันว่า Karashi Mentaiko นั้นเกิดในช่วงสงครามระหว่างญี่ปุ่นกับเกาหลี และเนื่องจากเมือง Fukushima เป็นเส้นทางคมนาคมที่สำคัญระหว่างเกาหลีและญี่ปุ่น จึงทำให้ Karashi Mentaiko เป็นอาหารที่ดัดแปลงมาจากการหมักกิมจิของประเทศเกาหลีนั่นเอง และในปี Showa ที่ 50 เมื่อรถไฟ Shinkanzen สาย Sanyo ที่วิ่งระหว่างสถานี Shin Osaka ถึงเมือง Hakata เริ่มเปิดให้บริการ ทำให้ Karashi Mentaiko เป็นที่รู้จักมากขึ้น ปัจจุบันนิยมนำ Karashi Mentaiko ไปทำ Onigiri และสปาเกตตี้ รวมถึงอาหารอื่น ๆ อีกมากมาย

ขอบคุณข้อมูลจาก : http://gurutabi.gnavi.co.jp
ที่มา : http://www.marumura.com/japanist_talkative/?id=1526